เปิดภาพ "กิ้งก่าแก้ว" (Forest crested lizard)

26 กรกฎาคม 2566

เปิดภาพ "กิ้งก่าแก้ว" (Forest crested lizard) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Calotes emma ลำตัวมีสีได้หลายสี มีสีน้ำตาลออกเขียว น้ำตาลคล้ำ หรือบางครั้งสีน้ำตาลออกแดง

ลักษณะ : ลำตัวมีสีได้หลายสี มีสีน้ำตาลออกเขียว น้ำตาลคล้ำ หรือบางครั้งสีน้ำตาลออกแดง หางยาวมากกว่าสองเท่าของความยาวหัวกับลำตัว บนหัวมีเกล็ดขนาดใหญ่ เรียงกันอย่างไม่เป็นระเบียบเกล็ดลำตัวมีปลายชี้ไปทางด้านหลังและด้านบน สันหลังมี เกล็ดเป็นหนามแหลมพาดยาวตลอดไปจนถึงโคนหาง ขาและนิ้วค่อนข้างยาว โดยเฉพาะ ขาคู่หลังจะยาวกว่าขาคู่หน้ามาก

เปิดภาพ "กิ้งก่าแก้ว" (Forest crested lizard)

การกระจายพันธุ์ : จีน อินเดีย เมียนมาร์ ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลย์เชีย ในประเทศไทยพบ ทุกภาคของประเทศ

เปิดภาพ "กิ้งก่าแก้ว" (Forest crested lizard)

ถิ่นอาศัย : อาศัยในป่าเบญจพรรณชื้นป่าดงดิบ หรือสวนที่มีความชื้นสูง

เปิดภาพ "กิ้งก่าแก้ว" (Forest crested lizard)

พฤติกรรม : กินแมลง เช่น ตั๊กแตนตำข้าว ตั๊กแตนหนวด ยาว แมลงสาบป่า ฯลฯ เป็นอาหาร
📣 ตุลานี้เตรียมตัวให้พร้อม กับงานสุดยิ่งใหญ่สำหรับน้องหมาน้องแมว 🐕❤️🐈
ในงาน PetพาเพลินFair2023 26-29 ตุลาคมนี้ ที่ เวสต์เกตฮอล์ ชั้น 4 ศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวสต์เกต ที่เดิม แล้วเจอกันจ้า !!
#Petพาเพลิน #PetพาเพลินFair2023

เปิดภาพ \"กิ้งก่าแก้ว\" (Forest crested lizard)
ที่มา : อุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลำรู่ Khaolak-Lamru National Park